Nasolacrimal Duct Injury from Microscopic Sinus Sur- gery : Preliminary Report

0
Rate this post

Nasolacrimal Duct Injury from Microscopic Sinus Surgery : Preliminary Report

Supinda Saengpanich, M.D.*,   Virachai Kerekhanjanarong, M.D.**,

Ladda Chochaipanichnon, M.D.**,      Pakpoom Supiyaphun, M.D.**

Abstract

                 Nasolacrimal duct injury is a well established complication of functional endoscopic sinus surgery. In 1992, Bolger reported an incidence of nasolacrimal duct injuries in endoscopic sinus surgery of up to 15 per cent, but there is no documentation in microscopic sinus surgery. Fluorescein instillation into the lacrimal system via the punctum was done to determine the incidence of nasolacrimal duct injuries in 16 patients who underwent 32 microscopic sinus procedures. Only one patient exhibited nasolacrimal duct injury intraoperatively on the left side (0.3%). He had complete healing of the nasolacrimal duct at 2 months and no postoperative epiphora developed.

Key word : Sinusitis, Microscopic Sinus Surgery, Fluorescein, Nasolacrimal Duct System

Saengpanich S, Kerekhanjanarong V,

Chochaipanichnon L, Supiyaphun P

J Med Assoc Thai 2001; 84: 562-565

 *             King Chulalongkorn Memorial Hospital, The Thai Red Cross Society,

**             Department of Otolaryngology, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand.

รายงานเบื้องต้น การบาดเจ็บต่อท่อน้ำตาจากการผ่าตัดไซนัสโดยใช้กล้องจุลทรรศน์

สุพินดา แสงพานิชย์, พ.บ.*, วีระชัย คีรีกาญจนะรงค์, พ.บ.**,

ลัดดา โชชัยพานิชย์นนท์, พ.บ.**, ภาคภูมิ สุปิยพันธุ์, พ.บ.**

                เป็นที่ทราบกันดีว่าการบาดเจ็บต่อระบบท่อน้ำตาเป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้จากการทำผ่าตัดไซนัสโดยใช้กล้องส่อง จากรายงานของ Bolger และคณะ (1992) ได้รายงานอัตราการเกิดการบาดเจ็บต่อระบบท่อน้ำตาจากการผ่าตัดไซนัสโดยใช้กล้องส่องขณะผ่าตัดถึง 15% เนื่องจากยังไม่มีรายงานที่ศึกษาถึงการบาดเจ็บต่อระบบท่อน้ำตาที่เกิดจากการผ่าตัดไซนัสโดยการใช้กล้องจุลทรรศน์ การศึกษานี้เป็นการศึกษาอัตราบาดเจ็บของระบบท่อน้ำตาที่เกิดจากการผ่าตัดไซนัสโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ทั้งหมด 32 ข้างในผู้ป่วย 16 คน โดยการใช้สี fluorescein ฉีดผ่านรูเปิดของท่อน้ำตาเพื่อทดสอบระบบท่อน้ำตา ผลการศึกษาพบว่ามีการบาดเจ็บของท่อน้ำตาข้างซ้ายในผู้ป่วย 1 คน (0.3%) เมื่อติดตามผู้ป่วยเป็นเวลา 2 เดือนพบว่าอาการบาดเจ็บของท่อน้ำตาหายดีโดยไม่มีโรคแทรกซ้อน

คำสำคัญ : โรคไซนัสอักเสบ, การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์, สีฟลูออเรสชีน, ระบบท่อน้ำตา

สุพินดา แสงพานิชย์, วีระชัย คีรีกาญจนะรงค์,

ลัดดา โชชัยพานิชย์นนท์, ภาคภูมิ สุปิยพันธุ์

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 562-565

 *             ฝ่ายโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, สภากาชาดไทย,

**             ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ 10330