Comparative Study Between the Classical Westergren and the New Sealed Vacuum Extraction Methods for Erythrocyte Sedimentation Rate Determination
VIROJ WIWANITKIT, M.D.*,
atchasai siritantikorn, m.sc.*
Abstract
A comparative study between the classical Westergren and the new sealed vacuum extraction methods for erythrocyte sedimentation rate determination was performed on 80 individual subjects. The comparison-of-methods plot sealed vacuum extraction method (X) vs Westergren method (Y) gave a least square linear regression equation of Y = 1.001 X + 0.03 (r = 0.99) and precision analysis gave a coefficient of variation below 3 per cent. Compared to the classical method, the sealed vacuum extraction method was easy to use, showed acceptable precision and reduced biohazard risk to the practitioner, therefore, it was suitable for a laboratory setting with a high rate of blood-borne infectious diseases such as Thailand.
Key word : Erythrocyte Sedimentation Rate, Comparative Study, Westergren vs New Sealed Vacuum Extraction
WIWANITKIT V & siritantikorn A
J Med Assoc Thai 2001; 84: 577-580
* Department of Laboratory Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand.
การศึกษาเปรียบเทียบการหาอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงด้วยวิธีมาตรฐานเวสเทอร์เกร็นและวิธีใหม่ที่ใช้การเก็บตัวอย่างจากหลอดเลือดดำด้วย ระบบสูญญากาศ
วิโรจน์ ไววานิชกิจ, พ.บ.*, อัชฌาสัย ศิริตันติกร, วท.ม.*
ได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบการตรวจหาอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงด้วยวิธีมาตรฐานเวสเทอร์เกร็นกับวิธีใหม่ที่ใช้การเก็บตัวอย่างจากหลอดเลือดดำด้วยระบบสูญญากาศ โดยได้ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 80 ราย พบว่าค่าอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงด้วยวิธีใหม่ (X) เข้ากันได้ดีมากกับวิธีมาตรฐาน (Y) โดยแสดงได้ด้วยสมการถดถอยเชิงเส้น Y = 1.001 X + 0.03 (r = 0.99) และได้สัมประสิทธิ์ของความแปรปรวนน้อยกว่าร้อยละ 3 เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐานดั้งเดิมแล้วการหาอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงด้วยวิธีใหม่เป็นวิธีที่ใช้ได้ง่าย มีความแม่นยำและลดความเสี่ยงของผู้ทำหัตถการต่อการสัมผัสสิ่งติดเชื้อที่ปนเปื้อนในเลือดดังนั้นวิธีการใหม่นี้จึงมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้งาน โดยเฉพาะในสถานที่ที่มีความเสี่ยงของโรคติดเชื้อจากเลือด เช่น ในประเทศไทย
คำสำคัญ : อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง, การศึกษาเปรียบเทียบ, วิธีเวสเทอร์เกร็นและวิธีเก็บตัวอย่างด้วยสูญญากาศ
วิโรจน์ ไววานิชกิจ, อัชฌาสัย ศิริตันติกร
จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 577-580
* ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ 10330