Intrapartum Zidovudine Infusion Alone Failed to Reduce Both Maternal HIV-1 Viral Load and HIV-1 Infection in Infant

0
Rate this post

Intrapartum Zidovudine Infusion Alone Failed to Reduce Both Maternal HIV-1 Viral Load and HIV-1 Infection in Infant  +

Sompop Limpongsanurak, M.d., m.p.h.*,

Pimolratn Thaithumyanon, M.d.**,

Usa Thisyakorn, M.d.**,            

Kiat Ruxrungtham, M.d.***,

Surasith Chaithongwongwatthana, M.d.*,       

Pahsuvadn Kongsin, M.d.****,

Uraivan Tarounotai, M.d.*****,          

Nopadol Chantheptaewan, M.d.******,

Taneenat Triratwerapong, M.d.*******,

Sasiwimol Ubolyam, B.Sc. (Med Tech), M.Sc. (Med Tech)********,

Praphan Phanuphak, M.d., Ph.D.***

Abstract

                A pilot clinical trial to assess the efficacy of intrapartum zidovudine (ZDV) infusion alone in the reduction of maternal viral load and its potential role in preventing vertical transmission of HIV-1. Twenty six, asymptomatic antiretroviral na•ve HIV-1 infected pregnant women who had no prior antenatal care and were in labor were enrolled. Each patient received ZDV infusion at the rate of 2 mg/kg within the first hour. ZDV was then continuously infused at 1 mg/kg/h until delivery. Maternal plasma HIV-1 RNA prior to the commencement of ZDV infusion and within an hour after delivery were measured. HIV-1 transmission was documented by nested polymerase chain reaction in infants at six months of age. Median maternal plasma HIV-1 RNA prior to the ZDV infusion and after delivery was 29,401 and 32,555 copies/ml respectively, (p>0.05). The estimated HIV-1 transmission rate was 19.2 per cent (95% CI = 4-34). This result suggested that in asymptomatic HIV-1 infected pregnant women who were antiretroviral na•ve and had no prior antenatal care, intrapartum ZDV infusion alone failed to reduce maternal HIV-1 viremia and the transmission rate of HIV-1.

Key word : Intrapartum, Zidovudine, HIV-1 Infection, Infant

Limpongsanurak s, Thaithumyanon p, Thisyakorn u, et al

J Med Assoc Thai 2001; 84: 611-616                      

 * Department of Obstetrics and Gynecology,

 ** Department of Pediatrics,

 *** Department of Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330,

 **** Department of Obstetrics and Gynecology,

 ***** Department of Pediatrics, Vajira Hospital, Bangkok 10300,

 ****** Department of Obstetrics and Gynecology,

 ******* Department of Pediatrics, Taksin Hospital, Bangkok 10600,

******** HIV-NAT, the Thai Red Cross Society, Bangkok 10330, Thailand.

+   This study was supported by the Bureau of Planning and Policy, Ministry of University Affairs, Thailand.

การให้ยาไซโดวูดีนหยดเข้าทางหลอดเลือดดำเพียงอย่างเดียวมีความล้มเหลวในการลดทั้งปริมาณไวรัสเอ็ชไอวีในเลือดมารดาและการติดเชื้อไปสู่ทารก +

สมภพ ลิ้มพงศานุรักษ์, พ.บ., M.P.H.*, พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์, พ.บ.**,

อุษา ทิสยากร, พ.บ.**, เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม, พ.บ.***, สุรสิทธิ์ ชัยทองวงศ์วัฒนา, พ.บ.*,

พสุวัฒน์ คงศีล, พ.บ.****, อุไรวรรณ ตรุโนทัย, พ.บ.*****,

นพดล จันทร์เทพเทวัญ, พ.บ.******, ธนีนาถ ตรีรัตน์วีรพงษ์, พ.บ.*******,

ศศิวิมล อุบลแย้ม, วท.บ., วท.ม.********, ประพันธ์ ภานุภาค, พ.บ., Ph.D.***

                การศึกษานำร่องเพื่อประเมินประสิทธิผลของการให้ยาไซโดวูดีนเพียงอย่างเดียวหยดเข้าทางหลอดเลือดดำในการลดปริมาณไวรัสเอ็ชไอวีในเลือดมารดาและป้องกันการติดเชื้อไปสู่ทารกในสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดจำนวน 26 คนที่ติดเชื้อเอ็ชไอวี ไม่มีอาการหรืออาการแสดงของโรคเอดส์ ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสเอดส์มาก่อน และไม่ได้ฝากครรภ์ แต่ละคนได้รับยาไซโดวูดีนหยดเข้าทางหลอดเลือดดำในอัตรา 2 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมในหนึ่งชั่วโมงแรกและหยดต่อเนื่องในอัตรา 1 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อหนึ่งชั่วโมงจนกระทั่งคลอด เจาะเลือดสตรีนี้ก่อนให้ยาและภายในหนึ่งชั่วโมงหลังคลอดเพื่อตรวจวัดปริมาณไวรัส ติดตามทารกจนกระทั่งอายุ 6 เดือนเพื่อเจาะเลือดตรวจด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่ว่าติดเชื้อไวรัสเอดส์หรือไม่ ค่ามัธยฐานของปริมาณไวรัสก่อนให้ยาและภายในหนึ่งชั่วโมงหลังคลอดมีค่า 29,401 และ 32,555 กอปปี้ต่อมิลลิลิตรตามลำดับซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) อัตราการติดเชื้อเอ็ชไอวีในทารกร้อยละ 19.2% (ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 4-34) ผลการศึกษานี้แสดงว่าการให้ยาไซโดวูดีนเพียงอย่างเดียวหยดเข้าทางหลอดเลือดดำในสตรีตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดที่ติดเชื้อเอ็ชไอวี ไม่มีอาการหรืออาการแสดงของโรคเอดส์ ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสเอดส์มาก่อนนั้นไม่สามารถลดปริมาณไวรัสเอ็ชไอวีในเลือดมารดาและไม่สามารถลดอัตราการติดเชื้อในทารกได้

คำสำคัญ : ระยะเจ็บครรภ์คลอด, ยาไซโดวูดีน, การติดเชื้อเอ็ชไอวี, ทารก

สมภพ ลิ้มพงศานุรักษ์, พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์, อุษา ทิสยากร, และคณะ

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 611-616

 * ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา,

 ** ภาควิชากุมารเวชศาสตร์,

 *** ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ 10330

 **** ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา,

 ***** ภาควิชากุมารเวชศาสตร์, วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล, กรุงเทพ ฯ 10300,

 ****** กองสูตินรีเวชกรรม,

******* กองกุมารเวชกรรม, โรงพยาบาลตากสิน, กรุงเทพ ฯ 10600

******** ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ สภากาชาดไทย กรุงเทพ ฯ 10330

+   การวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากทบวงมหาวิทยาลัย ประเทศไทย