Amniotic Membrane Transplantation for Ocular Surface Reconstruction +
Pinnita Prabhasawat, M.D.*,***, Panida Kosrirukvongs, M.D.*,***,
Wipawee Booranapong, M.D.*, Yongyutra Vajaradul, M.D.**,***
Abstract
Objective : To study the efficacy of amniotic membrane transplantation in various indications for ocular surface reconstruction.
Method : Amniotic membrane transplantations were performed in 140 eyes (130 patients) for ocular surface reconstruction. The indications for the corneal group were limbal stem cell deficiency, bullous keratopathy, persistent epithelial defect, band keratopathy, prosthesis, corneal ulcer and acute chemical burn. The indications for the conjunctival group were grafts for pterygium, conjunctival tumors, symblepharon, and covering the scleral graft.
Results : Success was noted in 75.7 per cent (106/140) eyes, partial success in 17.9 per cent (25/140) eyes, and failure in 6.4 per cent (9/140) eyes for a mean follow-up of 6.6 months (1-19 months). The success and partial success rate were 80.6 per cent (54/67), 14.9 per cent (10/67) in the corneal group and 71.2 per cent (52/73), 20.6 per cent (15/73) in the conjunctival group.
Conclusion : Amniotic membrane transplantation can solve some difficult ocular surface problems, and can be used to promote epithelial healing, reduce inflammation and scarring.
Key word : Amniotic Membrane, Amniotic Membrane Transplantation, Corneal Surface reconstruction, Conjunctival Surface Reconstruction, Limbal Stem Cell Deficiency, Persistent Epithelial Defect, Conjunctival Tumor, Pterygium, Symblepharon
Prabhasawat p, Kosrirukvongs p,
Booranapong w, Vajaradul y
J Med Assoc Thai 2001; 84: 705-718
* Department of Ophthalmology,
** Department of Orthopedics Surgery,
*** The Bangkok Biomaterial Center, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok 10700, Thailand.
+ Supported in part by the grant of Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University
+ Presented in part at the Seventh International Conference on Tissue Bank Asia Pacific Association of Surgical Tissue Banks, Kuala Lumpur, Malaysia, November 1998, in part at the Thai-Japan Joint meeting, Bangkok, Thailand, January 1999 and in part at the Fourth Annual Meeting of the Ocular Surface and Tear Conference, Miami, Florida, USA May 1999.
การปลูกถ่ายเนื้อเยื่อรก รักษาโรคทางจักษุวิทยา +
ภิญนิตา ประภาสะวัต, พ.บ.*, ***, พนิดา โกสีย์รักษ์วงศ์, พ.บ.*, ***,
วิภาวี บูรณพงศ์, พ.บ.*, ยงยุทธ วัชรดุลย์, พ.บ.**, ***
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการรักษาโดยใช้เนื้อเยื่อรกรักษาโรคที่มีปัญหาทางด้าน ocular surface
วิธีการศึกษา : ได้ทำการผ่าตัดโดยใช้เนื้อเยื่อรกในผู้ป่วย 140 ตา (130 ราย) รักษาโรคของกระจกตาคือ limbal stem cell deficiency, bullous keratopathy, persistent epithelial defect, band keratopathy, prosthesis, กระจกตาอักเสบติดเชื้อและตาถูกสารเคมี และในกลุ่มโรคของเยื่อบุตาคือใช้เนื้อเยื่อรกเป็น graft หลังผ่าตัดลอกต้อเนื้อ, ผ่าตัดเนื้องอกของเยื่อบุตา, เลาะพังผืดที่เยื่อบุตาและคลุม scleral graft
ผลการรักษา : ผลการรักษาได้ผลดี 75.7% (106/140 ตา), ได้ผลดีบางส่วน 17.9% (25/140 ตา), และไม่ได้ผล 6.4% (9/140 ตา) ระยะการติดตามผลเฉลี่ย 6.6 เดือน (1-19 เดือน) ในกลุ่มโรคของกระจกตาและของเยื่อบุตา ผลการรักษาได้ผลดี 80.6% (52/73) และ 71.2% (54/67) ตามลำดับ, ได้ผลดีบางส่วน 14.9% (10/67) และ 20.6% (15/73) ตามลำดับ
สรุป : การผ่าตัดโดยใช้เนื้อเยื่อรกสามารถช่วยรักษาโรคที่มีปัญหาทางด้านของ ocular surface ได้ในหลายโรค สามารถช่วยเร่งการหายของแผล ลดการอักเสบและลดการเกิดแผลเป็นได้
คำสำคัญ : เนื้อเยื่อรก, เยื่อหุ้มรก, โรคของกระจกตา, โรคของเยื่อบุตา, ต้อเนื้อ, เนื้องอกของเยื่อบุตา
ภิญนิตา ประภาสะวัต, พนิดา โกสีย์รักษ์วงศ์,
วิภาวี บูรณพงศ์, ยงยุทธ วัชรดุลย์
จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 705-718
* ภาควิชาจักษุวิทยา,
** ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์,
*** ศูนย์เนื้อเยื่อชีวภาพกรุงเทพ ฯ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพ ฯ 10700
+ สนับสนุนบางส่วนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลประจำปี 2541 เคยเสนอในงานประชุม Inter- national Conference on Tussue Bank Asia Pacific Association of Surgical Tissue Banks ครั้งที่ 7 ที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เดือนพฤศจิกายน 2541 งานประชุม Thai-Japan Joint Meeting ที่กรุงเทพ ฯ เดือนมกราคม 2542 และงาน ประชุม Annual Meeting of the Ocular Surface and Tear Conference ที่เมืองไมอามี รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา เดือนพฤษภาคม 2542