Comparison of Blood Specimens from Plain and Gel Vacuum Blood Collection Tubes

0
Rate this post

Comparison of Blood Specimens from Plain and Gel Vacuum Blood Collection Tubes

Viroj Wiwanitkit, M.D.*

Abstract

                This study was set in the Division of Laboratory Medicine, Chulalongkorn Hospital. All 2,000 blood specimens were randomly collected using evacuated blood collection by plain or gel vacuum tubes. After collection, each specimen was considered and judged using criteria of specimen rejection to determine how proper the specimen presentations were. All data were reviewed, collected and interpreted. It revealed that there were only 20 (1%) improper specimens and all were improper in quality. There was no significant difference between the ratio of improper specimens in both groups (P > 0.30). From this study, it revealed that efficacy of both types of vacuum tubes was not different. The new gel vacuum tube seems to be an effective tool in the evacuated blood collection system due to its advantage in reduction of time in specimen processing.

Key word : Blood Collection, Comparison, Plain & Gel, Vacuum Tube

Wiwanitkit V

J Med Assoc Thai 2001; 84: 723-726

* Department of Laboratory Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand.

การศึกษาเปรียบเทียบสิ่งส่งตรวจประเภทเลือดจากการใช้หลอดเก็บตัวอย่างเลือดด้วยระบบสูญญากาศแบบไม่ใส่สารกันเลือดแข็งและแบบใส่สารกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด

วิโรจน์ ไววานิชกิจ, พ.บ.*

                ได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบสิ่งส่งตรวจเพื่อการตรวจเกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นจากการเก็บตัวอย่างเลือดด้วยหลอดเก็บตัวอย่างเลือดด้วยระบบสูญญากาศด้วยหลอดสูญญากาศแบบไม่ใส่สารกันเลือดแข็งและแบบใส่สารกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด โดยทำการศึกษาที่หน่วยเวชศาสตร์ชันสูตร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยได้ตรวจสอบและพิจารณาสิ่งส่งตรวจจากการเก็บตัวอย่างเลือดทั้งสิ้น 2,000 ตัวอย่าง ด้วยเกณฑ์ปฏิเสธสิ่งส่งตรวจ รวบรวมข้อมูลที่ได้และทำการวิเคราะห์ทางสถิติ จากการศึกษาพบสิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสมเพียง 20 ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 1 โดยเป็นความไม่เหมาะสมในเชิงคุณภาพทั้งสิ้น ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างสัดส่วนของสิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสมของการเก็บตัวอย่างเลือดโดยใช้หลอดสูญญากาศทั้งสองชนิด จากการศึกษาพบว่าประสิทธิภาพของหลอดสูญญากาศทั้งสองแบบไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามหลอดสูญญากาศแบบใหม่นับว่าเป็นสิ่งที่มีประโยชน์มากในการเก็บตัวอย่างเลือดด้วยระบบสูญญากาศเนื่องจากสามารถช่วยลดช่วงเวลาในกระบวนการตรวจทางห้องปฏิบัติการลงได้

คำสำคัญ : การเก็บตัวอย่างเลือด, การเปรียบเทียบ, ไม่ใส่สารกันเลือดแข็งและแบบใส่สารกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด, หลอดสูญญากาศ

วิโรจน์ ไววานิชกิจ

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 723-726

* ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ 10330