The Comparative Study for Quality of Trauma Treatment Before and After the Revision of Trauma Audit Filter, Khon Kaen Hospital 1998

0
Rate this post

The Comparative Study for Quality of Trauma Treatment Before and After the Revision of Trauma Audit Filter, Khon Kaen Hospital 1998

WITAYA CHADBUNCHACHAI, M.D.*,         SURACHAI SARANRITTICHAI, M.D.*,

SUNUNTA SRIWIWAT, B.Sc., M.S.**,         JIRAWADEE CHUMSRI, B.Sc.**,

SIRIKUL KULLEAB, B.Sc., M.P.A.**,            PIYAPORN JAIKWANG, B.Sc.**

Abstract

                This study was conducted in 1997-1998 in order to improve the quality of treatment of trauma care in Khon Kaen Regional Hospital by revision of the trauma audit filter which was set up in 1997. After the implementation of the revised audit filter by the method of participatory action research (PAR), the trauma preventable death rate was decreased to 2 per cent which was statistically different from the preventable death rate in 1994 and the pitfalls of trauma treatment and pitfalls contributing to mortality was also statistically significantly decreased when compared with the result in 1994 and 1995. The compliance of physicians in 23 items from 32 items in trauma audit filter was more than 80 per cent.

Key word : Trauma Audit Filter, Preventable Death

CHADBUNCHACHAI W, SARANRITTICHAI S, SRIWIWAT S,

CHUMSRI J, KULLEAB S, JAIKWANG P

J Med Assoc Thai 2001; 84: 782-790

 * Department of Surgery,

** Department of Nurse, Khon Kaen Hospital, Khon Kaen 40002, Thailand.

การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการรักษาพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุก่อนและหลังการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานการรักษาผู้ป่วยอุบัติเหตุ โรงพยาบาลขอนแก่น 2541

วิทยา ชาติบัญชาชัย, พ.บ.*, สุรชัย สราญฤทธิชัย, พ.บ.*, สุนันทา ศรีวิวัฒน์, พย.ม.**,

จิราวดี ชุมศรี, พย.บ.*, ศิริกุล กุลเลียบ, พย.บ., พบ.ม.**, ปิยาพร ใจกว้าง, พย.บ.**

                คณะผู้วิจัยได้จัดทำโครงการนี้ในระหว่างปี 2540-2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพการรักษาผู้ป่วยอุบัติเหตุ โดยการแก้ไขปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานการรักษาพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่จัดทำขึ้นในปี 2537 ภายหลังจากที่บรรจุเกณฑ์มาตรฐานที่จัดทำขึ้นใหม่เข้าในกระบวนการรักษาพยาบาล โดยใช้กระบวนการของการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ปรากฏว่าอัตราการเสียชีวิตที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ลดลงเหลือ 2.1% ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากอัตราการเสียชีวิตที่หลีกเลี่ยงได้ในปี 2537 ข้อผิดพลาดในการรักษาพยาบาลและข้อผิดพลาดที่มีผลทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตลดลงอย่างมีนัยสำคัญจากปี 2537 และ 2538 แพทย์ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานเกิน 80% ถึง 23 ข้อ จาก 32 ข้อ

คำสำคัญ : เกณฑ์มาตรฐานการรักษาผู้ป่วยอุบัติเหตุ, การเสียชีวิตที่หลีกเลี่ยงได้

วิทยา ชาติบัญชาชัย, สุรชัย สราญฤทธิชัย, สุนันทา ศรีวิวัฒน์,

จิราวดี ชุมศรี, ศิริกุล กุลเลียบ, ปิยาพร ใจกว้าง

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 782-790

 * กลุ่มงานศัลยกรรม,

** กลุ่มงานการพยาบาล, โรงพยาบาลขอนแก่น, ขอนแก่น 40002