Evaluation of katG Codon 315 Mutations Among Isoniazid Sensitive and Resistant Mycobacterium tuberculosis Isolates from Thailand

0
Rate this post

Evaluation of katG Codon 315 Mutations Among Isoniazid Sensitive and Resistant Mycobacterium tuberculosis Isolates from Thailand

PANKORN IMWIDTHAYA, M.D., Dr.med.*,

KLAUS MIESKES, M.Sc.**,

SOMSAK RIENTHONG, M.Sc.***

Abstract

                Nine isoniazid (INH)-susceptible and 11 INH-resistant Mycobacterium tuberculosis clinical isolates were analyzed for katG codon 315 mutations by polymerase chain reaction (PCR) assay using primers MYC-32 and MYC-33, followed by restriction fragment length polymorphism. After AciI digestion of PCR products, all 9 INH-susceptible isolates and 5 out of 11 (45%) INH-resistant isolates showed 0.12 kb band, which was previously reported to indicate wild type, whereas, 6 of 11 (55%) INH-resistant isolates lacked this band.

Key word : M. tuberculosis, katG Codon, INH Susceptibility

IMWIDTHAYA P, MIESKES K, RIENTHONG S

J Med Assoc Thai 2001; 84: 864-869

 *             Department of Microbiology, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok 10700, Thailand.

 **            Department of Infectious Diseases and Tropical Medicine, Klinikum Innenstadt, University of Munich, Leopold- strasse 5, D-80802 Munich, Germany.

***           Tuberculosis Division, Department of Communicable Diseases Control, MoPH, Bangkok 10120, Thailand.

การศึกษายีนแคท จี ในเชื้อวัณโรคซึ่งแยกได้จากผู้ป่วยที่ไวและดื้อต่อยาไอโสไนอะซิด จากประเทศไทย

พรรณกร อิ่มวิทยา, พ.ด.*, เคล้า มิสเกส, วท.ม.**, สมศักดิ์ เหรียญทอง, วท.ม.***

                นำเชื้อวัณโรคที่แยกได้จากผู้ป่วย 20 สายพันธุ์ ซึ่งประกอบด้วยเชื้อวัณโรคที่ไวต่อยาไอโสไนอะซิด 9 สายพันธุ์ และเชื้อวัณโรคที่ดื้อต่อยาไอโสไนอะซิด 11 สายพันธุ์ มาศึกษายีนแคท จี ว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่โคดอน 315 หรือไม่โดยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส ใช้ไพรเมอร์ MYC-32 และ MYC-33 หลังจากย่อยดีเอ็นเอที่ได้จากปฏิกิริยาด้วย Aci I พบว่าเชื้อวัณโรคที่ไวต่อยาไอโสไนอะซิด 9 สายพันธุ์ (ร้อยละ 100) และ 5 สายพันธุ์จากจำนวนทั้งหมด 11 สายพันธุ์ (ร้อยละ 45) ของเชื้อวัณโรคที่ดื้อยาไอโสไนอะซิดมีดีเอ็นเอขนาดประมาณ 0.12 กิโลเบส ซึ่งแสดงว่ายีนแคท จี ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่โคดอน 315 ส่วน 6 จาก 11 สายพันธุ์ (ร้อยละ 55) ของเชื้อที่ดื้อต่อยาไอโสไนอะซิดขาดดีเอ็นเอที่มีขนาดนี้ การศึกษานี้แสดงว่าการตรวจหาการเปลี่ยนแปลงที่โคดอน 315 ของยีนแคท จี ในเชื้อวัณโรคเพื่อแสดงว่าเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโสไนอะซิด ได้ผลร้อยละ 55 ซึ่งผลที่ได้นี้ใกล้เคียงกับการศึกษาจากรายงานอื่น ๆ

คำสำคัญ : มัยโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลสิส, แคท จี โคดอน, ความไวต่อไอโสไนอะซิด

พรรณกร อิ่มวิทยา, เคล้า มิสเกส, สมศักดิ์ เหรียญทอง

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 864-869

 *             ภาควิชาจุลชีววิทยา, คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพ ฯ 10700

 **            สถาบันโรคติดเชื้อและโรคเขตร้อน, มหาวิทยาลัยมิวนิค มิวนิค, สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน

***           กองวัณโรค, กรมควบคุมโรคติดต่อ, กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพ ฯ 10120