Application of Quantitative Salt Iodine Analysis Com-pared with the Standard Method

0
Rate this post

Application of Quantitative Salt Iodine Analysis Compared with the Standard Method

Siriporn Chongchirasiri, M.Sc.*,      Chaveevan Pattanachak, M.Sc.*,

Supong Pattanachak, M.Ed.*,             Napaporn Tojinda, M.Sc.*,

Nucharee Putrasreni, M.Sc.*,           Rudee Pleehachinda, M.D.*,

Romsai Suwanik, M.D.*

Abstract

                Laboratory investigation of 50 iodated salt samples (from producers, households, markets etc) were studied at the Research Nuclear Medicine Building, Siriraj Hospital. Two methods for the determination of iodine in salt are herein described. The standard method as recommended by The Programme Against Micronutrient Malnutrition (PAMM) / The Micronutrient Initiative (MI) / The International Council for Control of Iodine Deficiency Disorders (ICCIDD) was the iodometric titration method. The starch-KI salt iodine quantitative method was developed in our laboratory for validation purposes. This method is high in precision, accuracy, sensitivity as well as specificity. The coefficient of variation (%CV) for intra and inter assay was below 10. Iodine contents as low as 10 ppm, could be detected. The proposed starch-KI method offered some advantages : e.g. not complicated, easier to learn and easier to perform competently, could be applied for spot qualitative test and readily performed outside the laboratory. The results obtained by the starch-KI method correlated well with the standard method (y = 0.98x ะ 3.22, r = 0.99).

Key word : Iodated Salt, Iodometric Titration, Starch-KI Method, Spot Qualitative Test

Chongchirasiri S, Pattanachak C, Pattanachak S, et al

J Med Assoc Thai 2001; 84: 870-876

* Department of Radiology, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok 10700, Thailand.

การประยุกต์การวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีนในเกลือเทียบกับวิธีมาตรฐาน

ศิริพร จงจิระศิริ, วท.ม.*, ฉวีวรรณ พัฒนจักร, วท.ม.*,

สุพงษ์ พัฒนจักร, ค.ม.*, นภาพร โตจินดา, วท.ม.*,

นุชรี ปุตระเศรณี, วท.ม.*, ฤดี ปลีหจินดา, พ.บ.*, ร่มไทร สุวรรณิก, พ.บ.*

                ได้ทำการเปรียบเทียบระดับไอโอดีนในตัวอย่างเกลือไอโอเดท จำนวน 50 ตัวอย่าง ซึ่งได้จากแหล่งผลิตเกลือ, ในครัวเรือน, ร้านค้าในตลาด โดยวิธีมาตรฐาน iodometric titration กับ วิธีดัดแปลง starch-KI ซึ่งเป็นวิธีที่มีความเที่ยงตรง ความแม่นยำ ความไว และความจำเพาะสูง ค่าสัมประสิทธิ์แห่งการกระจายของการวิเคราะห์ในการทดลองชุดเดียวกัน และต่างชุดการทดลอง หรือต่างวันกันน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ สามารถตรวจหาไอโอดีนในปริมาณต่ำได้ถึง 10 ส่วนในล้านส่วนเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยาก ทำได้ง่าย สามารถประยุกต์ทำเป็นวิธีการตรวจภาคสนามได้ผลดี ผลการทดลองที่ได้จากวิธี starch-KI จะมีความสัมพันธ์กับวิธีมาตรฐาน โดยมีสมการเป็น y = 0.98 x – 3.22 และค่าสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธ์เป็น 0.99

คำสำคัญ : เกลือไอโอเดท, วิธีไตเตรทแบบไอโอโดเมตริก, วิธีน้ำแป้ง-โปตัสเซียมไอโอไดด์, วิธีทดสอบภาคสนาม

ศิริพร จงจิระศิริ, ฉวีวรรณ พัฒนจักร, สุพงษ์ พัฒนจักร, และคณะ

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 870-876

* ภาควิชารังสีวิทยา, คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพ ฯ 10700