Multiple Intracranial Aneurysms : Incidence and Management Outcome in King Chulalongkorn Memorial Hospital

0
Rate this post

Multiple Intracranial Aneurysms : Incidence and Management Outcome in King Chulalongkorn Memorial Hospital

Yot Navalitloha, M.D.*,

Chaopeow Taechoran, M.D.*,

Supat OChareon, M.D.*

Abstract

                We retrospectively reviewed the 380 patients on whom surgery was performed for intracranial aneurysms between January 1987 and December 1997. The incidence of multiple intracranial aneurysms (MIA) in our hospital was 8.7 per cent (33/380 cases). The management outcome of 33 patients with MIA was assessed 6 months after SAH. The outcome was poorer for patients with MIA than for those with a single intracranialaneurysm (SIA). The mortality and morbidity in all grades were 24.2 per cent in patients with MIA and 16.7 per cent and 19.6 per cent respectively in those with SIA. Delayed neurological deficit and treatment outcome of poor grade patients had significant contribution to outcome in patients with MIA, more than in patients with SIA.

Key word : Multiple Intracranial Aneurysm, Management, Incidence

Navalitloha Y, TAECHORAN C, O’CHAREON S

J Med Assoc Thai 2000; 83: 1442-1446

 * Division of Neurosurgery, Department of Surgery, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand.

หลอดเลือดโป่งพองหลายตำแหน่งภายในกะโหลกศีรษะ อุบัติการณ์และผลการรักษาใน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

ยศ นวฤทธิ์โลหะ, พ.บ.*,

ช่อเพียว เตโชฬาร, พ.บ.*, สุพัฒน์ โอเจริญ, พ.บ.*

                ได้ทำการศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหลอดเลือดสมองโป่งพองภายในกะโหลกศีรษะ 380 ราย ระหว่างมกราคม 2530 ถึงธันวาคม 2540 พบอุบัติการณ์ของหลอดเลือดสมองโป่งพองหลายตำแหน่งในผู้ป่วย 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.7 ของผู้ป่วยทั้งหมด ผลการรักษาผู้ป่วย 6 เดือนภายหลังจากการแตกของหลอดเลือดสมองโป่งพอง พบว่าอัตราการเสียชีวิตและอัตราการทุพพลภาพ ในผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดสมองโป่งพองหลายตำแหน่งคิดเป็นร้อยละ 24.2 โดยที่อัตราการเสียชีวิตและอัตราการทุพพลภาพในผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดสมองโป่งพองตำแหน่งเดียว มีเพียงร้อยละ 16.7 และ 19.6 ตามลำดับ ภาวะการสูญเสียการทำงานของระบบประสาทภายหลังและผลการรักษาผู้ป่วยที่มีสภาพแย่เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อผลการรักษาผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดสมองโป่งพองหลายตำแหน่ง มากกว่าในผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดสมองโป่งพองตำแหน่งเดียว

คำสำคัญ : หลอดเลือดโป่งพองหลายตำแหน่งภายในกะโหลกศีรษะ, ผลการรักษา, อุบัติการณ์

ยศ นวฤทธิ์โลหะ, ช่อเพียว เตโชฬาร, สุพัฒน์ โอเจริญ

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2543; 83: 1442-1446

* แผนกศัลยกรรมประสาท, ภาควิชาศัลยศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปทุมวัน, กรุงเทพ ฯ 10330