Dog-Bite Injuries at the Animal Bite Clinic of the Thai Red Cross Society in Bangkok

0
Rate this post

Dog-Bite Injuries at the Animal Bite Clinic of the Thai Red Cross Society in Bangkok

Channarong Mitmoonpitak, D.V.M.*, Veera Tepsumethanon, D.V.M.*,

Somsri Raksaket, P.N.*, Ampri Banjongkasaena nayuthaya, P.N.*,

Henry Wilde, M.D.*

Abstract

                Canine rabies remains a public health problem in Thailand and other developing countries. This study of animal bites at the Animal Bite Clinic at the Queen Saovabha Memorial Institute revealed that : (1) The majority of patients were bitten by dogs and the time of the attack was mostly during the day. (2) School – aged children are at the highest risk for animal bites. (3) The most common site of injury are the legs and foot (64.2%), with the second most common site being the hands and fingers (21.2%). (4) Only 48 per cent of patients received rabies vaccine 1 – 2 days after being exposed. There was considerable delay before the rest received treatment. Solving Thailands rabies problem depends on control of canine rabies and educational campaigns. Public education must be an integral part of efforts to decrease the incidence of animal bites and assurance that they are managed properly.

Key word : Rabies, Rabies Management, Dog-Bites, Thailand.

MITMOONPITAK C, TEPSUMETHANON V, RAKSAKET S,

BANJONGKASAENA NAYUTHAYA A, WILDE H

J Med Assoc Thai 2000; 83: 1458-1462

* The Queen Saovabha Memorial Institute, Thai Red Cross Society (WHO Collaborating Center for Research on Rabies Pathogenesis and Prevention) Bangkok 10330, Thailand.

การศึกษาเกี่ยวกับการถูกสุนัขกัดในผู้ป่วยที่มารักษาที่คลินิกผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัด สภากาชาดไทย

ชาญณรงค์ มิตรมูลพิทักษ์, สพ.บ.*,

วีระ เทพสุเมธานนท์, สพ.บ.*,

สมศรี รักษาเขตร, ผู้ช่วยพยาบาล*,

อำไพ บรรจงกะเสนา ณ อยุธยา, ผู้ช่วยพยาบาล*,

เฮนรี่ ไวลด์, พ.บ.*

                ข้อมูลที่พบจากผู้ป่วยที่ถูกสัตว์กัด พบว่า 1) ร้อยละ 83.4 เกิดจากถูกสุนัขกัด โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางวัน 2) เด็กที่อยู่ในช่วงอายุต่ำกว่า 20 ปี เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการถูกสุนัขกัดมาก 3) บาดแผลส่วนใหญ่เป็นบริเวณขา และ เท้า 4) พบเพียงร้อยละ 48 ของผู้ป่วย มารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า หลังจากถูกสัตว์กัด 1 – 2 วัน และพบร้อยละ 14.6 ของผู้ป่วย มารับการฉีดวัคซีน หลังจากถูกสัตว์กัดมากกว่า 7 วัน ซึ่งเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนและความล้มเหลวในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในการแก้ปัญหาสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย นอกจากจะต้องมีมาตรการควบคุมสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าแล้ว ยังจะต้องรณรงค์เผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนในแง่ของการป้องกันและระมัดระวังการถูกสัตว์กัดด้วย

คำสำคัญ : โรคพิษสุนัขบ้า, การจัดการโรคพิษสุนัขบ้า, สุนัขกัด, ประเทศไทย

ชาญณรงค์ มิตรมูลพิทักษ์, วีระ เทพสุเมธานนท์, สมศรี รักษาเขตร,

อำไพ บรรจงกะเสนา ณ อยุธยา, เฮนรี่ ไวลด์

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2543; 83: 1458-1462

* สถานเสาวภา, สภากาชาดไทย, กรุงเทพฯ 10330