Risk Factors of Urethral Involvement of Bladder Cancer After Radical Cystectomy with Orthotopic Neobladder in Females

0
Rate this post

Risk Factors of Urethral Involvement of Bladder Cancer After Radical Cystectomy with Orthotopic Neobladder in Females

Wachira Kochakarn, M.D.*,                  Charoen Leenanupunth, M.D.*,

Suchart Chaimuangraj, M.D.*,           Verasing Muangman, M.D.*

Abstract

                The cystectomy and urethrectomy specimens of 20 females with invasive bladder cancer were studied for evidence of urethral involvement. The bladder showed transitional cell carcinoma in 18 cases (90%) and squamous cell carcinoma in 2 cases (10%). Urethral involvement was found in 5 cases (25%). The trigone was the most common site of tumor (50%) which had 33 per cent chance of urethral involvement. Bladder neck was the next common site of tumor (15%) and had 66 per cent chance of urethral involvement. High stage (T3b, T4) and high grade (III) at trigone also correlated with urethral involvement. The tumor bearing node showed only 20 per cent correlation with urethral involvement. Female patients with high stage / high grade at trigone and any stage / grade at bladder neck are at high risk of urethral recurrence after radical cystectomy and orthotopic neobladder procedure.

Key word : Bladder Cancer, Urethra, Cystectomy

Kochakarn W, Leenanupunth C, Chaimuangraj S, Muangman V

J Med Assoc Thai 2001; 84: 889-892

*              Division of Urology, Department of Surgery, Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Bang- kok 10400, Thailand.

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งใหม่ที่หลอดปัสสาวะภายหลังการผ่าตัดเอากระเพาะปัสสาวะออก และสร้างกระเพาะปัสสาวะใหม่ในผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ

วชิร คชการ, พ.บ.*, เจริญ ลีนานุพันธ์, พ.บ.*,

สุชาติ ไชยเมืองราช, พ.บ.*, วีระสิงห์ เมืองมั่น, พ.บ.*

                ได้ศึกษาชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดรักษามะเร็งกระเพาะปัสสาวะโดยวิธี radical cystectomy และ urethrectomy ในผู้ป่วยหญิง 20 ราย พบว่าเป็นมะเร็งชนิด transitional cell 18 ราย (ร้อยละ 90) และ squamous cell carcinoma 2 ราย (ร้อยละ 10) พบว่ามะเร็งกระจายมาที่หลอดปัสสาวะ 5 รายคิดเป็นร้อยละ 25 ตำแหน่งที่พบมะเร็งบ่อยที่สุดคือ trigone คือ 10 ราย (ร้อยละ 50) และมีเนื้อมะเร็งกระจายมาที่หลอดปัสสาวะร้อยละ 33 ส่วนมะเร็งที่ bladder neck พบ 2 ราย และมีเนื้อมะเร็งกระจายมาที่หลอดปัสสาวะร้อยละ 66 มะเร็งระยะ T3b และ T4 รวมทั้งเกรดสูง มีโอกาสพบว่ากระจายมาที่หลอดปัสสาวะได้มาก ส่วนมะเร็งที่กระจายไปที่ต่อมน้ำเหลืองมีโอกาสกระจายมาที่หลอดปัสสาวะเพียงร้อยละ 20

คำสำคัญ : มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, หลอดปัสสาวะ, การตัดกระเพาะปัสสาวะ

วชิร คชการ, เจริญ ลีนานุพันธ์, สุชาติ ไชยเมืองราช, วีระสิงห์ เมืองมั่น

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84: 889-892

* หน่วยศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะ, ภาควิชาศัลยศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพ ฯ 10400