Anesthetic Management of Cerebral Aneurysm Clipping Using the Deep Hypothermic Circulatory Arrest Technique : A Case Report

0
Rate this post

Anesthetic Management of Cerebral Aneurysm Clipping Using the Deep Hypothermic Circulatory Arrest Technique : A Case Report

Lawan Tuchinda, M.D.*,              Oranuch Kyokong, M.D.*,

Supudjanee Lim-u-taitip, B.A.*,           Surachai Khaoroptham, M.D.**,

Rungsak Siwanuwatn, M.D.**, Vichai Benchacholamas, M.D.***

Abstract

                Deep hypothermic circulatory arrest may prove advantageous during surgery of some technically difficult brain lesions. This technique was first applied in one patient with a large intracavernous aneurysm which had failed standard neurosurgical techniques. For this technique to be successful the cooperation of neurosurgeons, cardiovascular surgeons, anesthesiologists, perfusionists and nurses is essential. Techniques aimed at improving the outcome include a short period of circulatory arrest, the depth of hypothermia, barbiturate administration, coagulation management and well-controlled blood glucose levels. The total time of circulatory arrest and the thiopentone dosage were 61 minutes and 1,700 mg respectively. The lowest core temperature was 13.9oC. The positive outcome supports the use of this technique in selected patients with complex intracranial vascular lesions who may not be operable by standard techniques.

Key word : Anesthesia, Cerebral Aneurysm, Cardiopulmonary Bypass, Deep Hypothermia

TUCHINDA L, KYOKONG O, LIM-U-TAITIP S,

KHAOROPTHAM S, SIWANUWATN R, BENCHACHOLAMAS V

J Med Assoc Thai 2000; 83: 1544-1549

 *             Department of Anesthesiology,

 **            Division of Neurosurgery, Department of Surgery,              

***           Division of Cardiovascular and Thoracic Surgery, Department of Surgery, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand.

การดมยาสลบสำหรับการผ่าตัด Cerebral Aneurysm Clipping โดยใช้เทคนิค Deep Hypothermic Circulatory Arrest : รายงานผู้ป่วย

ลาวัลย์ ตู้จินดา, พ.บ.*, อรนุช เกี่ยวข้อง, พ.บ.*,

สุพจนีย์ ลิ้มอุทัยทิพย์, ค.บ.*, สุรชัย เคารพธรรม, พ.บ.**,

รุ่งศักดิ์ ศิวานุวัฒน์, พ.บ.*, วิชัย เบญจชลมาศ, พ.บ.***

                เทคนิค deep hypothermic circulatory arrest อาจมีประโยชน์สำหรับการผ่าตัดรอยโรคในสมองที่ยากต่อการผ่าตัดด้วยวิธีการปกติ เทคนิคนี้นำมาใช้ได้เป็นผลสำเร็จครั้งแรกที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ในการผ่าตัด intracavernous aneurysm ขนาดใหญ่ด้วยความร่วมมือจากประสาทศัลยแพทย์ ศัลยแพทย์ทรวงอกและหัวใจ วิสัญญีแพทย์ perfusionists และพยาบาล วิธีการต่าง ๆ ที่จะช่วยเสริมให้การผ่าตัดได้ผลดีได้แก่ ระยะเวลาในการทำ circulatory arrest ที่สั้น ระดับอุณหภูมิร่างกาย การให้ barbiturate การดูแลการแข็งตัวของโลหิต และการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ ผลการผ่าตัดที่ได้ผลดีสนับสนุนการใช้เทคนิคนี้ในการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของเส้นเลือดในสมองที่ไม่สามารถผ่าตัดด้วยวิธีการปกติ

คำสำคัญ : การให้ยาระงับความรู้สึก, เส้นเลือดโป่งพองในสมอง, ปอด-หัวใจเทียม, อุณหภูมิร่างกายต่ำอย่างมาก

ลาวัลย์ ตู้จินดา, อรนุช เกี่ยวข้อง, สุพจนีย์ ลิ้มอุทัยทิพย์,

สุรชัย เคารพธรรม, รุ่งศักดิ์ ศิวานุวัฒน์, วิชัย เบญจชลมาศ

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2543; 83: 1544-1549

 * ภาควิชาวิสัญญีวิทยา,

 ** หน่วยศัลยกรรมประสาท, ภาควิชาศัลยศาสตร์,

*** หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ, ภาควิชาศัลยศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ 10330