Current Management of Helicobacter pylori Infection

0
Rate this post

Current Management of Helicobacter pylori Infection

RATHA-KORN VILAICHONE, M.D.*, 

VAROCHA MAHACHAI, M.D., F.R.C.P.(C), F.A.C.G.*

Abstract

                Helicobacter pylori is commonly found throughout the world. It is associated with a wide range of gastroduodenal diseases. Knowledge regarding the characteristic organism, behaviour, and related clinical conditions is extensive. Indeed, the bacteria is not the only factor which can cause the diseases, the host as well as environmental factors are also important. Largely, H. pylori is disappearing worldwide due to eradication of this organism allowing frequency of an H. pylori negative ulcer to relatively increase and may be more difficult to treat. The PPI triple therapy remains the first line of treatment with quadruple therapy as the second rescue line. The rising of bacterial resistant strains is a new problem which requires new drugs to improve the efficacy of the current regimens.

Key word : Management, Helicobacter Pylori

VILAICHONE R & MAHACHAI V

J Med Assoc Thai 2001; 84 (Suppl 1): S32-S38

*              Gastroenterology Unit, Department of Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, Bangkok 10330, Thailand.

การรักษาการติดเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร ในปัจจุบัน

รัฐกร วิไลชนม์, พ.บ.*, วโรชา มหาชัย, พ.บ.*

                การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร ในปัจจุบัน ได้ก้าวหน้าไปมาก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเชื้อเองและการเกิดโรคทางคลินิกเกิดขึ้นอย่างมากมาย อย่างไรก็ดีพบว่าการติดเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร ไม่ใช่สาเหตุเดียวของการเกิดโรค ปัจจัยจากตัวผู้ป่วยและสภาวะแวดล้อมก็มีความสำคัญ ดังจะเห็นได้จากมีการค้นพบแผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร เพิ่มมากขึ้น ซึ่งยังเป็นปัญหาของการรักษาต่อไปในอนาคต สำหรับการรักษานั้นใช้ Triple regimen เป็นหลัก พบว่ามีแนวโน้มของการเกิดการดื้อยาของเชื้อมากขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องการการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม เพื่อหาแนวทางการลดโอกาสการดื้อยาและพัฒนายาใหม่ในการรักษาต่อไป

คำสำคัญ : การรักษา, เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร

รัฐกร วิไลชนม์, วโรชา มหาชัย

จดหมายเหตุทางแพทย์ ฯ 2544; 84 (ฉบับพิเศษ 1): S32-S38

* หน่วยทางเดินอาหาร, ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ 10330